ข้ามไปเนื้อหา

บิแซนเทียม

พิกัด: 41°00′55″N 28°59′05″E / 41.01528°N 28.98472°E / 41.01528; 28.98472
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บิแซนเทียม
Byzantion
ที่ตั้งของบิแซนเทียม ตั้งในบริเวณที่ปัจจุบันคือเขตฟาตีฮ์ อิสตันบูล
ชื่ออื่นByzantion (ชื่อกรีกแบบแรก), Nova Roma ("โรมใหม่")
ที่ตั้งฟาตีฮ์ อิสตันบูล ประเทศตุรกี
ภูมิภาคภูมิภาคมาร์มะรา
พิกัด41°00′55″N 28°59′05″E / 41.01528°N 28.98472°E / 41.01528; 28.98472
ประเภทนครโบราณ
ส่วนหนึ่งของ
พื้นที่6 km2 (2.3 sq mi) ภายในกำแพงคอนสแตนติน 14 km2 (5.4 sq mi) ภายในกำแพงธีโอโดเซียน
ความเป็นมา
สร้าง667 ปีก่อน ค.ศ.
วัฒนธรรม

บิแซนเทียม (อังกฤษ: Byzantium; กรีกโบราณ: Βυζάντιον) เป็นนครกรีกโบราณตั้งอยู่ ณ ที่ซึ่งภายหลังเป็นคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูลสมัยใหม่) ผู้อยู่ในนิคมกรีกจากเมการาก่อตั้งนครแห่งนี้เมื่อ 657 ปีก่อน ค.ศ. มีการสร้างนครใหม่และเป็นเมืองหลวงใหม่ของจักรวรรดิโรมันในรัชกาลจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 ใน ค.ศ. 330 และภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นคอนสแตนติโนเปิล นครดังกล่าวเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิไบแซนไทน์กระทั่ง ค.ศ. 1453 เมื่อถูกพิชิตและกลายเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิออตโตมัน นับแต่สถาปนาประเทศตุรกีสมัยใหม่ใน ค.ศ. 1923 ชื่อนครภาษาตุรกี อิสตันบูล ได้แทนที่ชื่อคอนสแตนติโนเปิลในทางตะวันตก

ศัพทมูลวิทยา

[แก้]

ศัพทมูลวิทยาของ บิแซนเทียม ยังคงเป็นความลับ โดยมีข้อเสนอแนะว่าชื่อนี้มีต้นตอจาก Thracian[1] คำนี้อาจมาจากชื่อบุคคลชาว Thracian ว่า Byzas ซึ่งหมายถึง "เขา-แพะ"[2][3] ตำนานกรีกโบราณระบุถึง Byzas กษัตริย์กรีกที่เป็นหัวหน้าอาณานิคม Megarian และผู้สถาปนานคร[4] ชื่อ Lygos สำหรับนคร (ซึ่งน่าจะสอดคล้องกับการตั้งถิ่นฐานของ Thracian ช่วงก่อนหน้า)[1] ได้รับการกล่าวถึงใน Natural History ของพลินีผู้อาวุโส[5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Janin, Raymond (1964). Constantinople byzantine: dévelopment urbain et répertoire topographique (ภาษาฝรั่งเศส). Paris: Institut Français d'Études Byzantines. pp. 10–11. ISBN 9789042931015.
  2. Georgacas, Demetrius John (1947). "The Names of Constantinople". Transactions and Proceedings of the American Philological Association. The Johns Hopkins University Press. 78: 347–67. doi:10.2307/283503. JSTOR 283503.
  3. Georgacas, Demetrius John (1947). "The Names of Constantinople". Transactions and Proceedings of the American Philological Association. 78: 347–367. doi:10.2307/283503. ISSN 0065-9711. JSTOR 283503.
  4. Room, Adrian (2006). Placenames of the World: Origins and Meanings of the Names for 6,600 Countries, Cities, Territories, Natural Features, and Historic Sites (2nd ed.). Jefferson, NC: McFarland & Company. ISBN 978-0-7864-2248-7.
  5. Pliny, IV, xi
pFad - Phonifier reborn

Pfad - The Proxy pFad of © 2024 Garber Painting. All rights reserved.

Note: This service is not intended for secure transactions such as banking, social media, email, or purchasing. Use at your own risk. We assume no liability whatsoever for broken pages.


Alternative Proxies:

Alternative Proxy

pFad Proxy

pFad v3 Proxy

pFad v4 Proxy