ข้ามไปเนื้อหา

ตู้ จี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ตู้ จี
杜畿
รองราชเลขาธิการ
(尚書僕射 ช่างชูผูเย่)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 222 (222) – ค.ศ. 224 (224)
กษัตริย์โจผี
ผู้บังคับการมณฑลราชธานี
(司隸校尉 ซือลี่เซี่ยวเว่ย์)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 220 (220) – ค.ศ. 222 (222)
กษัตริย์โจผี
เจ้าเมืองฮอตั๋ง (河東太守 เหอตงไท่โฉ่ว)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 205 (205) – ค.ศ. 220 (220)
กษัตริย์พระเจ้าเหี้ยนเต้
หัวหน้ารัฐบาลโจโฉ (ตั้งแต่ ค.ศ. 208)
ถัดไปเจ้า เหยี่ยน
เจ้าเมืองเสเป๋ง (西平太守 ซีผิงไท่โฉ่ว)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. ? (?) – ค.ศ. 205 (205)
กษัตริย์พระเจ้าเหี้ยนเต้
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิดต้นทศวรรษ 160[1]
นครซีอาน มณฑลฉ่านซี
เสียชีวิตค.ศ. 224[a]
แม่น้ำเถา มณฑลเหอหนาน/มณฑลชานซี
บุตร
  • ตู้ ชู่
  • ตู้ หลี่
  • ตู้ ควาน
บุพการี
  • ตู้ ฉง (บิดา)
อาชีพขุนนาง
ชื่อรองปั๋วโหว (伯侯)
สมัญญานามไต้โหว (戴侯)
บรรดาศักดิ์เฟิงเล่อถิงโหว (豐樂亭侯)

ตู้ จี (จีน: 杜畿; พินอิน: Dù Jī); ต้นทศวรรษ 160 – ค.ศ. 224)[1] ชื่อรอง ปั๋วโหว (จีน: 伯侯; พินอิน: Bóhóu) เป็นขุนนางในช่วงปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออกของจีน ภายหลังได้รับราชการเป็นขุนนางระดับสูงของรัฐวุยก๊กในยุคสามก๊ํก มีชื่อเสียงในฐานะผู้ปกครองตัวอย่างที่มีความกล้าหาญ ภักดี และมีสติปัญญา ตู้ จีเป็นปู่ของเตาอี้ (杜預 ตู้ ยฺวี่) ผู้เขียนบทวิจารณ์จั่วจฺว้านที่มีอิทธิพลอย่างมาก[2]

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ตามลำดับเวลาในบทชีวประวัติตู้ จีในจดหมายเหตุสามก๊ก ตู้ จีเสียชีวิตหลังโจผีเสด็จมายังฮูโต๋ในภายหลังจากที่พระองค์กลับมายังลกเอี่ยงหลังการโจมตีง่อก๊กครั้งแรก (จดหมายเหตุสามก๊ก, 16.497) โจผีโจมตีง่อก๊กในฤดูหนาวของปี ค.ศ. 222 และเสด็จกลับลกเอี๋ยงในช่วงปลายฤดูใบไม้ผลิของปี ค.ศ. 224 (จดหมายเหตุสามก๊ก, 2.82, 84) ในฤดูใบไม้ร่วง พระองค์เสด็จมายังฮูโต๋เพื่อสร้างทัพเรือในเดือนถัดมา เนื่องจากตู้ จีเสียชีวิตในอุบัติเหตุทางเรือระหว่างการสร้างทัพเรือ วันที่ตู้ จีเสียชีวิตจึงอาจเป็นช่วงกลางฤดูใบไม้ร่วงของปี ค.ศ. 224 ในฤดูร่วงของปี ค.ศ. 222 ตู้ จีได้รับคำสั่งให้เปิดยุ้งฉางหลวงเพื่อบรรเทาเหตุทุพภิกขภัยในมณฑลกิจิ๋ว ในฤดูหนาวของปี ค.ศ. 224 มณฑลกิจิ๋วเกิดเหตุทุพภิกขภัยอีกครั้ง แต่ขุนนางไม่ปรากฏชื่อได้รับมอบหมายให้แจกจ่ายข้าวสาร (2.80, 84) ตู้ จีเสียชีวิตก่อนการสวรรคตของโจผีอย่างแน่นอน เนื่องจากมีบันทึกว่าโจผีได้ตรัสยกย่องตู้ จีผู้ล่วงลับไปแล้ว (16.497)

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 de Crespigny (2007), p. 177.
  2. Schaberg, 323

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Chen Shou (1977) [429]. Pei Songzhi (บ.ก.). Annotated Records of the Three Kingdoms 三國志注. Taipei: Dingwen Printing.
  • de Crespigny, Rafe (2007). A biographical dictionary of Later Han to the Three Kingdoms (23–220 AD). Brill. ISBN 978-90-04-15605-0.
  • Li Daoyuan (1900s) [500s]. Yang Shoujing (楊守敬); Xiong Huizhen (熊會貞); Yin Xizhong (殷熙仲); Chen Qiaoyi (陳橋驛) (บ.ก.). Annotated Classic of Waterways (1989 ed.). Nanjing: Jiangsu Ancient Books Press.
  • Loewe, Michael (1961). "The measurement of grain during the Han period". T'oung Pao. Leiden: Brill. 49 (1/2): 64–95. doi:10.1163/156853262X00020. JSTOR 4527501.
  • Qu Lindong (瞿林东) (1999). Outline of Chinese Historiography 中国史学史纲. Beijing: Beijing Publishing. ISBN 9787200037210.
  • Schaberg, David (2001). A Patterned Past: Form and Thought in Early Chinese Historiography. Cambridge, MA: Harvard University Press. ISBN 0674008618.
  • Wei Shou (1974) [554]. Book of Wei 魏書. Beijing: Zhonghua Publishing.
pFad - Phonifier reborn

Pfad - The Proxy pFad of © 2024 Garber Painting. All rights reserved.

Note: This service is not intended for secure transactions such as banking, social media, email, or purchasing. Use at your own risk. We assume no liability whatsoever for broken pages.


Alternative Proxies:

Alternative Proxy

pFad Proxy

pFad v3 Proxy

pFad v4 Proxy