ข้ามไปเนื้อหา

ยาหลอก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยาหลอกในจาน

ยาหลอก (อังกฤษ: placebo) เป็นการรักษาโรคหรืออาการอื่นทางการแพทย์ที่ไม่แท้หรือไม่มีผลทางการแพทย์ โดยตั้งใจให้หลอกผู้รับการรักษา บางครั้ง ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยาปลอมจะมีการพัฒนาของอาการทางการแพทย์ที่รับรู้หรือแท้จริง ปรากฏการณ์ดังกล่าวโดยทั่วไปเรียกว่า ปรากฏการณ์ยาหลอก (ดูเพิ่มที่ การศึกษาควบคุมด้วยยาหลอก)

ในการวิจัยทางการแพทย์ มีการให้ยาหลอกเป็นการรักษาควบคุมและขึ้นอยู่กับการหลอกที่ควบคุมได้ ยาหลอกสามัญรวมถึง ยาเม็ดเฉื่อย การผ่าตัดหลอก[1] และกระบวนการอื่นที่ใช้สารสนเทศเท็จ[2] อย่างไรก็ดี ยาหลอกสามารถมีผลทางบวกอย่างน่าประหลาดใจต่อผู้ป่วยที่ทราบว่า การรักษาที่ให้แก่ตนนั้นปราศจากยาออกฤทธิ์ใด ๆ เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ทราบว่าไม่ได้รับยาหลอก[3]

อ้างอิง

[แก้]
  1. UK Parliamentary Committee Science and Technology Committee. "Evidence Check 2: Homeopathy". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-28. สืบค้นเมื่อ 2013-02-11.
  2. Lanotte M, Lopiano L, Torre E, Bergamasco B, Colloca L, Benedetti F (November 2005). "Expectation enhances autonomic responses to stimulation of the human subthalamic limbic region". Brain, Behavior, and Immunity. 19 (6): 500–9. doi:10.1016/j.bbi.2005.06.004. PMID 16055306.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  3. Kaptchuk TJ, Friedlander E, Kelley JM; และคณะ (2010). Boutron, Isabelle (บ.ก.). "Placebos without Deception: A Randomized Controlled Trial in Irritable Bowel Syndrome". PLoS ONE. 5 (12): e15591. Bibcode:2010PLoSO...515591K. doi:10.1371/journal.pone.0015591. PMC 3008733. PMID 21203519.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
pFad - Phonifier reborn

Pfad - The Proxy pFad of © 2024 Garber Painting. All rights reserved.

Note: This service is not intended for secure transactions such as banking, social media, email, or purchasing. Use at your own risk. We assume no liability whatsoever for broken pages.


Alternative Proxies:

Alternative Proxy

pFad Proxy

pFad v3 Proxy

pFad v4 Proxy