ข้ามไปเนื้อหา

ไรโบส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
d-Ribose
ชื่อ
IUPAC name
(2R,3R,4S,5R)-5-(hydroxymethyl)oxolane-2,3,4-triol
ชื่ออื่น
d-Ribose
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
  • 4470639 aldehydo form D-(−)-Ribose ☒N
ดรักแบงก์
EC Number
  • 200-059-4
  • aldehydo form D-(−)-Ribose: InChI=1/C5H10O5/c6-1-3(8)5(10)4(9)2-7/h1,3-5,7-10H,2H2/t3-,4+,5-/m0/s1
    Key: PYMYPHUHKUWMLA-LMVFSUKVBD
  • aldehydo form D-(−)-Ribose: InChI=1S/C5H10O5/c6-1-3(8)5(10)4(9)2-7/h1,3-5,7-10H,2H2/t3-,4+,5-/m0/s1
    Key: PYMYPHUHKUWMLA-LMVFSUKVSA-N
  • aldehydo form D-(−)-Ribose: C([C@H]([C@H]([C@H](C=O)O)O)O)O
คุณสมบัติ[1][2]
C5H10O5
มวลโมเลกุล 150.13 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ ของแข็งสีขาว
จุดหลอมเหลว 95 องศาเซลเซียส (203 องศาฟาเรนไฮต์; 368 เคลวิน)
100 g/1 L (25 °C (77 °F))
Chiral rotation [α]D −21.5° (H2O)
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
อัลโดเพนโทสที่เกี่ยวข้อง
อะราบิโนส
ไซโลส
ไลโซส
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
ดีออกซีไรโบส
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
แอล-ไรโบส (L-Ribose) ภาพฉายแบบ Fischer Projection

ไรโบส (อังกฤษ: Ribose) เป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว และคาร์โบไฮเดรต ที่มีสูตรโมเลกุล C5H10O5 และมีองค์ประกอบเขียนแบบแนวราบคือ H−(C=O)−(CHOH)4−H ไรโบสในรูปที่พบทั่วไปในธรรมชาติคือ ดี-ไรโบส (d-ribose) นั้นเป็นองค์ประกอบของไรโบนิวคลีโอไทด์ ซึ่งก่อขึ้นเป็น RNA ดังนั้นสารประกอบนี้จึงจำเป็นต่อการโค้ด, ทรานสเลชัน, เรกูเลชัน และการแสดงออกของยีน คู่คล้ายกันทางโครงสร้างของไรโบสคือดีออกซีไรโบสซึ่งเป็นองค์ประกอบที่สำคัญเหมือน ๆ กันของ DNA ไรโบสในอีกรูปหนึ่งคือ แอล-ไรโบส (l-Ribose) นั้นเป็นน้ำตาลที่ไม่เกิดขึ้นในธรรมชาติ มีการสังเคราะห์ครั้งแรกโดยเอมีล ฟิชเชอร์ กับอ็อสคาร์ พีโลที (Oskar Piloty) ในปี 1891[3] จนกระทั่งในปี 1909 ฟีบัส เลวีน (Phoebus Levene) และวอลเตอร์ เจคอบส์ (Walter Abraham Jacobs) ได้ระบุให้ดี-ไรโบสเป็นผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (natural product), อีแนนทิโอเมอร์ ของฟิชเชอร์และพีโลที และเป็นองค์ประกอบของกรดนิวคลีอิก[4][5][6] ฟิชเชอร์เลือกชื่อ "ไรโบส" เพราะว่าไรโบสนั้นเป็นการจัดเรียงใหม่บางส่วนของชื่อของน้ำตาลอีกชนิดหนึ่ง อาระบิโนส (arabinose) ที่ซึ่งไรโบสเป็นเอพิเมอร์ ที่คาร์บอน 2' ทั้งสองชื่อนี้จริง ๆ มีรากฐานมาจากกัมอารบิก (gum arabic) ที่ซึ่งใช้ในการเตรียมทั้งอาระบิโนสและแอล-ไรโบสในครั้งแรก[6][7]

บีตา-ดี-ไรโบฟิวราโนส
β-d-ribofuranose
อัลฟา-ดี-ไรโบไพราโนส
α-d-ribopyranose
ดี-ไรโบส
d-ribose
แอล-ไรโบส
l-ribose
ซ้าย: ภาพฉายแบบฮาเวิร์ธ ขวา: ภาพฉายแบบฟิชเชอร์

ไรโบนิวคลีโอไซด์อะดีโนซีน, ไซตินีน, กวาโนซีน และ ยูรีดีน ล้วนเป็นอนุพันธ์ของบีตา-ดี-ไรโบฟิวราโนส (β-d-ribofuranose) จำพวกที่จำเป็นต่อกระบวนการเมตาบอลิกซึ่งประกอบด้วยphosphorylated ribose ได้แก่ ADP, ATP, coenzyme A,[8]: 228–229  และ NADH ส่วน cAMP และ cGMP ทำหน้าที่เป็นตัวขนส่งรอง (secondary messengers) ในบางวิถีส่งสัญญาณ (signaling pathways) และเป็นอนุพันธ์ไรโบสเช่นกัน ส่วนครึ่งหนึ่ง (moiety) ไรโบสสามารถพบได้ในสารทางเภสัชวิทยา เช่นยาปฏิชีวนะ neomycin และ paromomycin[9]

อ้างอิง

[แก้]
  1. แม่แบบ:Merck11th
  2. Weast, Robert C., บ.ก. (1981). CRC Handbook of Chemistry and Physics (62nd ed.). Boca Raton, FL: CRC Press. p. C-506. ISBN 0-8493-0462-8.
  3. Fischer, Emil; Piloty, Oscar (1891). "Ueber eine neue Pentonsäure und die zweite inactive Trioxyglutarsäure" [About a new pentonic acid and the second inactive trioxyglutaric acid]. Berichte der deutschen chemischen Gesellschaft (ภาษาเยอรมัน). 24 (2): 4214–4225. doi:10.1002/cber.189102402322.
  4. Levene, P. A.; Jacobs, W. A. (1909). "Über Inosinsäure" [About inosic acid]. Berichte der deutschen chemischen Gesellschaft (ภาษาเยอรมัน). 42 (1): 1198–1203. doi:10.1002/cber.190904201196.
  5. Levene, P. A.; Jacobs, W. A. (1909). "Über die Pentose in den Nucleinsäuren" [About the pentose in the nucleic acids]. Berichte der deutschen chemischen Gesellschaft (ภาษาเยอรมัน). 42 (3): 3247–3251. doi:10.1002/cber.19090420351.
  6. 6.0 6.1 Jeanloz, Roger W.; Fletcher, Hewitt G. (1951). "The Chemistry of Ribose". ใน Hudson, Claude S.; Cantor, Sidney M. (บ.ก.). Advances in Carbohydrate Chemistry. Vol. 6. Academic Press. pp. 135–174. doi:10.1016/S0096-5332(08)60066-1. ISBN 9780080562650. PMID 14894350.
  7. Nechamkin, Howard (1958). "Some interesting etymological derivations of chemical terminology". Science Education. 42 (5): 463–474. Bibcode:1958SciEd..42..463N. doi:10.1002/sce.3730420523.
  8. Dewick, Paul M. (2013). "Oxygen as a Nucleophile: Hemicetals, Hemiketals, Acetals and Ketals". Essentials of Organic Chemistry: For Students of Pharmacy, Medicinal Chemistry and Biological Chemistry. John Wiley & Sons. pp. 224–234. ISBN 9781118681961.
  9. Bhutani, S. P. (2019). "Aldopentoses—The Sugars of Nucleic Acids". Chemistry of Biomolecules (2nd ed.). CRC Press. pp. 63–65. ISBN 9781000650907.
pFad - Phonifier reborn

Pfad - The Proxy pFad of © 2024 Garber Painting. All rights reserved.

Note: This service is not intended for secure transactions such as banking, social media, email, or purchasing. Use at your own risk. We assume no liability whatsoever for broken pages.


Alternative Proxies:

Alternative Proxy

pFad Proxy

pFad v3 Proxy

pFad v4 Proxy